นักภาษาศาสตร์ ของ แฮร์มัน กึนเทอร์ กรัสมัน

ด้วยความผิดหวังกับความไร้สามารถของผู้อื่นในการตระหนักถึงความสำคัญของคณิตศาสตร์ของเขา กรัสมันหันไปทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (historical linguistics) เขาเขียนหนังสือเกี่ยวกับไวยากรณ์ภาษาเยอรมัน เก็บรวบรวมเพลงพื้นบ้าน และเรียนรู้ภาษาสันสกฤต พจนานุกรมและการแปลภาษาฤคเวทของเขายังคงได้รับการตีพิมพ์และได้รับการจดจำท่ามกลางนักภาษาศาสตร์ เขาประดิษฐ์กฎของเสียงของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน และตั้งชื่อว่า กฎของกรัสมัน เพื่อเป็นเกียรติแก่เขาผู้คนยกย่องเขาในด้านความสำเร็จทางภาษาศาสตร์เหล่านี้ในช่วงชีวิตของเขา สมาคมอเมริกันโอเรียนทัล (American Oriental Society) เชิญให้เขาเข้าร่วมสมาคม และมหาวิทยาลัยทือบิงเงิน ได้มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ให้กับเขาเมื่อปี ค.ศ. 1876

ใกล้เคียง

แฮร์มัน เกอริง แฮร์มัน กึนเทอร์ กรัสมัน แฮร์มันน์ รีเดอร์ แฮร์มันน์ ลุดวิก ฮุสไลน์ แฮร์มัน เฮ็สเซอ แฮร์มัน โครเติน แฮร์มัน รอร์ชัค แฮร์มัน มิงค็อฟสกี แฮร์มัน โอแบร์ท แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์

แหล่งที่มา

WikiPedia: แฮร์มัน กึนเทอร์ กรัสมัน http://www.maths.utas.edu.au/old_web_stuff_from_20... http://books.google.com/books?id=cHGrfrQVq1oC&prin... http://www.springerlink.com/index/d3j713720h13n488... http://www.uni-potsdam.de/phi/Grassmann-2009.htm http://quod.lib.umich.edu/cgi/t/text/text-idx?c=um... http://quod.lib.umich.edu/cgi/t/text/text-idx?c=um... http://id.loc.gov/authorities/names/n87816184 http://d-nb.info/gnd/118541617 http://neo-classical-physics.info/uploads/3/0/6/5/... http://neo-classical-physics.info/uploads/3/0/6/5/...